อักษรวิ่ง

Welcome Blog Koravit

วันพุธที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557

บทที่1 หลักการทำงานและการเลือกใช้


1. การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
         คอมพิวเตอร์คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic device)  
ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข
 ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมายใน
สิ่งต่า อ่านต่อ
















การใช้งานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์


เริ่มจากผู้ใช้ทำการกรอกข้อมูลหรือคำสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล
(Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆที่รับเข้ามาจะถูกนำไปเก็บไว้
ที่หน่วยความจำหลัก (Memory) 
จากนั้นก็จะถูกนำไปประมวลผลโดยหน่วยประมวล
ผลกลาง (Central Processing) แล้ว อ่านต่อ

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำหลัก จะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก
 การที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ 
ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้น ๆ 
ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไป 
ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้น 
รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
 หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภาย อ่านต่อ


หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
การพิจารณาเลือกซื้อคอมพิวเตอรเปน
ขั้นตอนสําคัญซึ่งเราควรทําความเขาใจ
กอนศึกษาเรื่องอื่นซึ่งเนื้อหาในบทนี้จะแบงออกเปน 2 สวนหลัก 
คือการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอรและการเลือกซื้อ
อุปกรณคอมพิวเตอรบางชิ้นในกรณีที่
เราตองการซื้ออุปกรณมาประกอบเปนเครื่อง
คอมพิวเตอรเอง หรือเราตองการอัพเกรดอุปกรณ
บางชิ้นภายในเครื่อง เชน
 ตองการซื้อฮารดดิสกตัวใหมที่มีความจุมากกวาเดิม
 หรือซื้อแรมมาเพิ่มใหประมวลผลได อ่านต่อ


ชนิดขจองการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การพิจารณาเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เป็นขั้นตอนสำคัญซึ่งเราควรทำความเข้า
ใจก่อนศึกษาเรื่องอื่นซึ่งเนื้อหาในบทนี้
จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
 และการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์บางชิ้น
ในกรณีที่เราต้องการซื้ออุปกรณ์มาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอง
หรือเราต้องการอัพเกรดอุปกรณ์
บางชิ้นภายในเครื่อง เช่น ต้องการซื้อฮาร์ดดิสก์ตัวใหม่ที่มีความจุมากกว่าเดิม หรือ อ่านต่อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น